อาหารไทย เมนูอาหารเย็น อร่อยทำง่าย อิ่มได้ทั้งครอบครัว
อาหารไทย เมนูอาหารเย็น อร่อยทำง่าย อิ่มได้ทั้งครอบครัว
รวมสูตรอาหาร “เมนู อาหารไทย ” เมนูอาหารประจำชาติที่เราคุ้นเคยกันดี แต่กินยังไงก็ไม่เบื่อ จะทำเป็นมื้อเช้า กลางวัน หรือเย็นก็ได้หมด เน้นประเภทหลากหลาย ทั้งต้ม ผัด แกง ทอด ส่วนรสชาติก็ถึงรสถึงเครื่องตามแบบฉบับไทย ๆ พร้อมเทคนิคเคล็ดลับในการทำอาหารไทยให้ดีงามลงตัว แบบไม่ต้อง้อเชฟก็สามารถมีมื้อร่อยที่บ้านได้!
สมัยสุโขทัย
อาหารไทยในสมัยสุโขทัยได้อาศัยหลักฐานจากศิลาจารึก และวรรณคดี สำคัญคือ ไตรภูมิพระร่วงของพญาลิไท ที่ได้กล่าวถึงอาหารไทยในสมัยนี้ว่า มีข้าวเป็นอาหารหลัก โดยกินร่วมกับกับเนื้อสัตว์ ที่ส่วนใหญ่ได้มาจากปลา มีเนื้อสัตว์อื่นบ้าง การปรุงอาหารได้ปรากฏคำว่า “แกง” ใน ไตรภูมิพระร่วงที่เป็นที่มาของคำว่า ข้าวหม้อแกงหม้อ อาหารไทย ผักที่กล่าวถึงในศิลาจารึก คือ แฟง แตงและน้ำเต้า ส่วนอาหารหวานก็ใช้วัตถุดิบพื้นบ้าน เช่น ข้าวตอกและน้ำผึ้งส่วนหนึ่งนิยมกินผลไม้แทนอาหารหวาน
สมัยอยุธยา
สมัยนี้ถือว่าเป็นยุคทองของไทย ได้มีการติดต่อกับชาวต่างประเทศมากขึ้นทั้งชาวตะวันตกและตะวันออก จากบันทึกเอกสารของชาวต่างประเทศ พบว่าคนไทยกินอาหารแบบเรียบง่าย ยังคงมีปลาเป็นหลัก มีต้ม แกง และคาดว่ามีการใช้น้ำมันในการประกอบอาหารแต่เป็นน้ำมันจากมะพร้าวและกะทิมากกว่าไขมันหรือน้ำมันจากสัตว์มาทำอาหารอยุธยามีเช่น หนอนกะทิ วิธีทำคือ ตัดต้นมะพร้าว อาหารไทย แล้วเอาหนอนที่อยู่ในต้นนั้นมาให้กินกะทิแล้วก็นำมาทอดก็กลายเป็นอาหารชาววังขึ้น คนไทยสมัยนี้มีการถนอมอาหาร เช่นการนำไปตากแห้ง หรือทำเป็นปลาเค็ม มีอาหารประเภทเครื่องจิ้ม เช่นน้ำพริกกะปิ นิยมบริโภคสัตว์น้ำมากกว่าสัตว์บก โดยเฉพาะสัตว์ใหญ่ ไม่นิยมนำมาฆ่าเพื่อใช้เป็นอาหาร ได้มีการกล่าวถึงแกงปลาต่างๆ ที่ใช้เครื่องเทศ เช่น แกงที่ใส่หัว
ประวัติ ความเป็นมาของอาหารไทย
ยุคก่อนประวัติศาสตร์
คนไทยกินข้าวและปลาเป็นอาหารหลักมาตั้งแต่ยุคก่อนประวัติศาสตร์ ยืนยันได้จากการพบข้าวเปลือก กระดูก เกล็ด และก้างปลาหมอในช่องท้องของศพผู้หญิงอายุราว 3,000 ปี ที่บ้านโคกพนมดี อำเภอพนัสนิคม จังหวัดชลบุรี และการพบซากปลาช่อนในหม้อดินเผาที่อำเภอโนนสูง จังหวัดนครราชสีมา อาหารไทย ซึ่งมีอายุไม่ต่ำกว่า 3,000 ปีเช่นกัน
สมัยสุโขทัย
สำหรับอาหารไทยในสมัยสุโขทัยนั้นมีที่มาจากศิลาจารึกและวรรณคดี “ไตรภูมิพระร่วงของพญาลิไท” ที่ได้กล่าวไว้ว่าคนไทยนิยมกินข้าวกับเนื้อสัตว์เป็นอาหารหลัก โดยเนื้อสัตว์จะเป็นปลาซะส่วนใหญ่ มีการกินผลไม้เป็นของหวาน นอกจากนี้ในไตรภูมิพระร่วงยังปรากฎคำว่า “แกง” ซึ่งเป็นที่มาของวลี “ข้าวหม้อแกงหม้อ” อีกทั้งยังกล่าวถึงผักอย่าง แฟง แตง และน้ำเต้า รวมไปถึงข้าวตอกและน้ำผึ้งที่กินเป็นอาหารหวานด้วย
สมัยอยุธยา
อาหารไทยในสมัยอยุธยาส่วนใหญ่จะเป็นการรับเอาวัฒนธรรมอาหารจากประเทศต่างๆ ที่เข้ามามีสัมพันธไมตรีทั้งทางการทูตและการค้า อาหารไทย และจะเริ่มแพร่หลายในราชสำนักก่อนแล้วจึงกระจายไปสู่ประชาชน ซึ่งจากบันทึกของชาวต่างชาติพบว่าคนไทยในสมัยอยุธยายังคงนิยมกินปลาเป็นอาหารหลัก มีอาหารประเภทต้ม แกง มีการใช้น้ำมันจากมะพร้าวและกะทิ มีการถนอมอาหารและการใช้เครื่องเทศ จนถึงช่วงกรุงศรีอยุธยาตอนปลายก็ได้รับเอาอิทธิพลของอาหารจีนเข้ามามากขึ้น เนื่องจากเป็นยุคที่ไทยตัดสัมพันธ์กับชาติตะวันตกนั่นเอง
จุดเด่นของอาหารไทย
คนไทยบริโภคข้าวเป็นอาหารหลัก โดยนิยมกัน 2 ชนิดคือ ข้าวเหนียวและข้าวเจ้า คนไทยภาคอีสานและภาคเหนือนิยมกินข้าวเหนียวเป็นหลัก ส่วนคนไทยภาคกลางและภาคใต้นิยมกินข้าวเจ้าเป็นหลัก อาหารไทย ประเทศไทยนั้นเป็นประเทศที่ผูกพันกับสายน้ำมาช้านาน ทำให้อาหารประจำครัวไทยประกอบด้วยปลาเสียเป็นส่วนใหญ่ ทั้ง ปลาย่าง ปลาปิ้ง จิ้มน้ำพริก กินกับผักสดที่หาได้ตามหนองน้ำ ชายป่า หากกินปลาไม่หมดก็สามารถนำมาแปรรูปให้เก็บไว้ได้นาน ๆ ไม่ว่าจะเป็นปลาแห้ง ปลาเค็ม ปลาร้า ปลาเจ่า ส่วนอาหารรสเผ็ดที่ได้จากพริกนั้น ไทยได้รับนำมาเป็นเครื่องปรุงจากบาทหลวงชาวโปรตุเกสในสมัยพระนารายณ์ ส่วนอาหารประเภทผัดไฟแรง ได้รับมาจากชาวจีนที่อพยพมาอยู่ในเมืองไทยในสมัยกรุงรัตนโกสินทร์