เมนูอาหารสำหรับคนอยาก ลดน้ำตาลในเลือด
เมนูอาหารสำหรับคนอยาก ลดน้ำตาลในเลือด
เมนูอาหารสำหรับคน ลดน้ำตาลในเลือด มีประโยชน์สำหรับผู้ที่ต้องการลดหรือควบคุมระดับ ลดน้ำตาลในเลือด ไม่ให้สูงเกินกว่า 200 มิลลิกรัม/เดซิลิตร เพื่อป้องกันการเกิดโรคเบาหวานและภาวะแทรกซ้อนอื่น ๆ อย่างไรก็ตาม ควรออกกำลังกายและปฏิบัติตามแผนการจัดการกับน้ำตาลในเลือดตามที่คุณหมอกำหนดร่วมด้วย เพื่อช่วยควบคุมระดับน้ำตาลในเลือดให้อยู่ในเกณฑ์ที่เหมาะสม
ประโยชน์ของเมนูอาหารสำหรับคนลดน้ำตาลในเลือด
เหตุผลที่ควรรับประทานเมนูอาหารสำหรับคนลดน้ำตาลในเลือด มีดังนี้
- ช่วยป้องกันภาวะน้ำตาลในเลือดสูง (Hyperglycaemia) ลดน้ำตาลในเลือด ที่อาจทำให้เกิดอาการกระหายน้ำมาก ปัสสาวะบ่อย มองเห็นไม่ชัด ปวดหัว และอ่อนแรง
ช่วยลดความเสี่ยงการเกิดโรคเบาหวาน และช่วยป้องกันภาวะแทรกซ้อนจากโรคเบาหวาน
ป้องกันเส้นประสาทบริเวณแขน ขา และเท้าเสียหาย ที่อาจส่งผลให้แขนขาชา รู้สึกเสียวซ่า และมีอาการบวม
ป้องกันภาวะเบาหวานขึ้นตาที่อาจทำให้เกิดปัญหาเกี่ยวกับดวงตา เช่น ต้อกระจก ตาพร่ามัว ต้อหิน
ป้องกันภาวะเลือดเป็นกรด (Diabetic Ketoacidosis) ที่เกิดจากภาวะน้ำตาลในเลือดสูง ทำให้ร่างกายสร้างคีโตน (Ketone) หรือสารที่มีฤทธิ์เป็นกรดออกมาในปริมาณมาก ส่งผลให้มีอาการอ่อนเพลีย หายใจเหนื่อยหอบ แน่นหน้าอก และอาจนำไปสู่การเสียชีวิตได้
ลดความเสี่ยงเกิดอาการโคม่าจากระดับน้ำตาลในเลือดสูงมาก ที่อาจส่งผลให้หัวใจเต้นเร็วผิดปกติ ลดน้ำตาลในเลือด เกิดอาการชัก หมดสติ และอาจนำไปสู่การเสียชีวิตได้
หลีกเลี่ยงอาหารที่มาจากแป้ง
แป้ง คือ คาร์โบไฮเดรต ข้าว ก๋วยเตี๋ยว ขนมปัง เผือก มัน ฯลฯ อาหารเหล่านี้ควรจำกัดปริมาณการกินให้เหมาะสม ลดน้ำตาลในเลือด ไม่มากจนเกินไป เช่น แบ่งอาหาร 1 จานออกเป็น 4 ส่วน; ข้าว 1 ส่วน, โปรตีน 1 ส่วน และอีก 2 ส่วนที่เหลือเป็นผัก หรือหากอยากกินแป้ง ให้เลือกกินคาร์โบไฮเดรตเชิงซ้อน เช่น ข้าวกล้อง ขนมปังโฮลวีต มากกว่าข้าวขาว หรือขนมปังขาว เป็นต้น
ผลไม้น้ำตาลสูง
ไม่ใช่ผลไม้ทุกชนิดที่ยิ่งกินจะยิ่งดีต่อร่างกาย เพราะผลไม้บางชนิดน้ำตาลสูงมาก เช่น มะม่วง ทุเรียน ลำไย ขนุน ฯลฯ ดังนั้นควรเลือกผลไม้น้ำตาลต่ำอย่าง ฝรั่ง แอปเปิ้ล แก้วมังกร ฯลฯ จะดีกว่า
นม
นมทุกชนิด เช่น ลดน้ำตาลในเลือด นมข้นหวาน นมปรุงแต่ง นมเปรี้ยว รวมไปถึงโยเกิร์ตปรุงรสผลไม้ แม้กระทั่งนมวัวปกติก็มีส่วนประกอบของคาร์โบไฮเดรต รวมถึงสารอาหารอื่นๆ อย่าง โปรตีน ไขมัน วิตามิน และแร่ธาตุ คาร์โบไฮเดรตในน้ำนมอยู่ในรูปน้ำตาลแลคโตส มีรสหวานน้อย จึงอาจทำให้ระดับน้ำตาลในเลือดเพิ่มขึ้นได้เช่นกัน ดังนั้นควรเลือกดื่มนมจากธรรมชาติ 100% เท่านั้น
อาหารช่วยลดน้ำตาลในเลือด
1. ผัก (Non-Starchy Vegetables)
ผักที่มีคาร์โบไฮเดรตต่ำ เช่น หน่อไม้ฝรั่ง อะโวคาโด บร็อคโคลี กะหล่ำปลี ผักชีฝรั่ง แตงกวา เห็ด หัวหอม บวบ และมะเขือเทศ นอกจากช่วยให้อิ่มท้องแล้ว ยังเต็มไปด้วยวิตามินและแร่ธาตุที่จำเป็น ลดน้ำตาลในเลือด มีส่วนช่วยในการควบคุมระดับน้ำตาลในเลือดได้ดี แถมมีไฟเบอร์สูง ถือเป็นอาหารเพื่อสุขภาพที่ดีมาก
2. ปลา
การกินปลาสามารถลดโอกาสการเกิดโรคแทรกซ้อนร้ายแรงได้ เพราะในปลานั้นให้กรดไขมันโอเมกา-3 DHA และ EPA ในปริมาณมาก อาหารเพื่อสุขภาพ ช่วยป้องกันภาวะแทรกซ้อนที่อาจเกิดขึ้นจากโรคเบาหวาน ช่วยปรับปรุง การทำงานของหลอดเลือดแดง และลดการอักเสบ เช่น ปลาแซลมอน ปลาซาร์ดีน และแอนโชวี นอกจากนี้ปลายังเป็นแหล่งโปรตีนชั้นดี ช่วยให้อิ่มท้อง สามารถควบคุมน้ำหนักได้อย่างง่ายดาย