อาหารทำลายกระดูก กินบ่อย เสี่ยงกระดูกบาง
อาหารทำลายกระดูก กินบ่อย เสี่ยงกระดูกบาง
การรับประทานอาหารที่มีประโยชน์ครบทั้ง 5 หมู่ ย่อมช่วยซ่อมแซมและส่งเสริมสุขภาพให้สมบูรณืแข็งแรง ห่างไกลโรค แต่ในทางกลับกัน หากเรารับประทานอาหารที่ที่ก่อผลกระทบกับร่างกายเป็นประจำ ก่อย่อมทำให้เกิดปัญหาสุขภาพตามมาได้ในระยะยาว
ในที่นี้จะขอกล่าวถึงอาหารที่มีผลกระทบต่อกระดูก อาหารทำลายกระดูก หากรับประทานเป็นประจำอาจก่อให้เกิดปัญหากระดูกบางได้ในอนาคต 5 ชนิด ดังนี้
1.) แอลกอฮอล์
เมื่อคุณดื่มแอลกอฮอล์จะทำหน้าที่เหมือนตัวบล็อกแคลเซียม เข้าไปขัดขวางการดูดซึมแร่ธาตุที่เอาไว้สร้างกระดูก ที่คุณทานเข้าไป และการดื่มหนักจะเข้าไปขัดขวางการเปลี่ยนแปลงของกระดูกด้วย โดยเข้าไปป้องกันไม่ให้เซลล์สร้างกระดูกทำงาน
ดังนั้นการดื่มแอลกอฮอล์ไม่เพียงแต่จะทำให้กระดูกอ่อนแอลงเท่านั้น แต่เมื่อคุณกระดูกหัก ก็อาจเข้ารบกวนกระบวนการรักษาและฟื้นตัวของร่างกายให้ช้าลงได้ แนะนำว่าให้เลือกดื่มไวน์หรือเบียร์ที่มีแอลกอฮอล์ต่ำแทน เพราะมีรสชาติดีพอๆ กัน และไม่ได้ทำลายกระดูกของคุณเท่ากับการดื่มเครื่องดื่มที่มีปริมาณแอลกอฮอล์สูง อย่างไรก็ตามอยากให้ดื่มวันละ 1 แก้วพอ จากนั้นให้เปลี่ยนมาดื่มน้ำเปล่า ชา หรือ ผลไม้ ต่อจะดีที่สุด
2.) น้ำอัดลม
ความซ่าของน้ำอัดลมมักมาจากกรดฟอสฟอริก อาหารทำลายกระดูก ซึ่งเพิ่มปริมาณการขับแคลเซียมของร่างกายออกมาผ่านปัสสาวะ ในเวลาเดียวกันแม้น้ำอัดลมจะช่วยเติมเต็มตอบสนองความกระหายของคุณได้ แต่กลับไม่ให้สารอาหารอะไรเหมือนที่คุณได้รับจากนมหรือน้ำผลไม้เลย
แล้วแบบนี้ เราควรจะดื่มอะไรแทน?
แน่นอนว่า นมหรือนมถั่วเหลือง จะดีกว่า เพราะช่วยเสริมแคลเซียมและวิตามินดี หรือใครที่ไม่ชอบดื่มนมเหล่านี้ ก็อาจเลือกดื่ม น้ำส้ม สมูทตี้ผลไม้ที่ทำจากโยเกิร์ตแทน เพราะมีแคลเซียมและวิตามินดีสูง
ข้อเท็จจริง : ผงชูรสและอาหารหมักดองเป็นอาหารที่มีโซเดียมมาก โดยทุก 2,000 มก.ของโซเดียมที่กินไปจะดึงแคลเซียมออกจากร่างกาย 40 มก. น้ำอัดลมสีดำมีคาเฟอีนและกรดโดยคาเฟอีนมีส่วนทำให้ขับแคลเซียมออกมากับปัสสาวะ น้ำตาลในน้ำอัดลมอาจทำให้ฟันกร่อนและผุได้ อาหารทำลายกระดูก สารฟอกสีในน้ำตาลทรายขาวไม่ส่งผลกระทบโดยตรงกับกระดูก ยาเคมี ยาฆ่าแมลงยังไม่พบข้อมูลยืนยัน
ผลกระทบ : อาหารอาจไม่ได้ทำลายกระดูกโดยตรง แต่อาหารบางชนิดและพฤติกรรมบางอย่างอาจส่งผลให้เกิดการสลายตัวของกระดูกได้และเมื่ออายุมากขึ้นการสลายตัวของกระดูกยิ่งเพิ่มขึ้นขึ้น
ข้อแนะนำ : การดูแลกระดูกให้แข็งแรงควรกินอาหารที่เป็นแหล่งแคลเซียม เช่น นม ไข่ ปลาเล็กปลาน้อย ผักใบเขียวให้ร่างกายได้รับแคลเซียม 800-1000 มก./วัน หมั่นออกกำลังกายรับวิตามินดีจากแสงแดดจะช่วยการดูดซึมแคลเซียมดีขึ้น
โรคกระดูกพรุนคืออะไร
คือการสูญเสียแคลเซียมในกระดูก ส่งผลให้เซลล์สร้างกระดูกทำลายกระดูก มากกว่าการสร้างกระดูกขึ้นมาทดแทน ทำให้ความหนาแน่นของกระดูกลดน้อยลง และไม่สามารถรับน้ำหนักได้อย่างที่เคย ทำให้กระดูกมีความเปราะบาง แตกหักได้ง่าย อาหารทำลายกระดูก และอาจส่งผลต่อส่วนสูงทำให้ส่วนสูงลดลง ปกติแล้วผู้ป่วยจะไม่รู้ตัว แต่อาการจะแสดงออกหลังจากร่างกายได้รับความเสียหายจนกระดูกหัก ซึ่งการหักของกระดูกจะง่ายกว่าคนทั่วไป โรคนี้ยังเป็นโรคที่เกิดขึ้นได้กับทุกเพศทุกวัย และจะยิ่งเสี่ยงมากขึ้นตามอายุ และรุนแรงถึงขั้นพิการได้
สาเหตุและปัจจัยเสี่ยงของโรคกระดูกพรุน
- อายุและเพศ โรคนี้เกิดขึ้นได้กับทุกคน โดยหลังจากอายุ 30 ปี มวลกระดูกจะค่อย ๆ เสื่อมสภาพความหนาแน่นลงตามลำดับ นอกจากนี้เพศหญิงยังมีความเสี่ยงสูงกว่าเพศชาย หลังจากหมดประจำเดือน อาหารทำลายกระดูก หรือทำการผ่าตัดมดลูก ซึ่งความเสี่ยงที่เพิ่มขึ้นเกิดจากฮอร์โมนของเพศหญิงนั่นเอง
- การทานอาหาร จากการทานเค็ม ดื่มกาแฟ แอลกอฮอล์ เนื่องจากอาหารเหล่านี้ และคาเฟอีนส่งผลให้ร่างกายดูดซึมแคลเซียมได้น้อยลง และมีการขับแคลเซียมมากกว่าปกติอีกด้วย อาหารและผลไม้ที่มีวิตามินหลายคนอาจไม่ชอบทาน ทำให้ร่างกายไม่มีวิตามินที่สำคัญซึ่งส่งผลดีต่อมวลของกระดูก
- พันธุกรรมและยา หากมีเครือญาติที่เป็นโรคกระดูกพรุนจะยิ่งเพิ่มความเสี่ยงในการเป็นโรคนี้มากขึ้น นอกจากนี้ยาบางชนิดอาจส่งผลให้มวลของกระดูกมีความหนาแน่นน้อยลง เช่น ยาป้องกันการชัก กลุ่มยาสเตียรอยด์ เป็นต้น