อาหารสําหรับโรคเก๊าท์

อาหารสําหรับโรคเก๊าท์ กินให้ห่างไกลอาการปวดตามข้อ 2024

อาหารสําหรับโรคเก๊าท์ กินให้ห่างไกลอาการปวดตามข้อ 2024

อาหารสําหรับโรคเก๊าท์

มีสาเหตุมาจากความผิดปกติของการสะสมกรดยูริก (Uric acid) ในร่างกาย กรดยูริกได้จากการเผาผลาญสารพิวรีน ซึ่งเป็นธาตุอาหารที่ร่างกายสังเคราะห์เองได้และพบได้ทั่วไปในอาหารหลายชนิด โดยปกติพิวรีนที่ร่างกายได้รับจะถูกย่อย และกลายเป็น กรดยูริก ในคนปกติไตจะทำหน้าที่ขับกรดยูริกออกให้ทันต่อการสร้างใหม่ การสะสมของกรดยูริกทำให้เกิดอาการปวดรุนแรง  อาหารสําหรับโรคเก๊าท์ ในกระดูกและรอบๆ ข้อกระดูก ในผู้ชายกรดยูริกไม่ควรที่จะเกิน 8 มิลลิกรัมต่อเดซิลิตร ในผู้หญิงกรดยูริก ไม่ควรเกิน 6 มิลลิกรัมต่อเดซิลิตรโรคนี้สามารถติดต่อได้ทางกรรมพันธุ์

การควบคุมอาหารผู้ป่วยโรคเก๊าฑ์

  • งดเครื่องดื่มที่มีแอลกอฮอล์เด็ดขาด เช่น เบียร์ , เหล้า เพราะแอลกอฮอล์ทำให้ยูริกสูงขึ้น
  • งดอาหารที่มีพิวรีนสูง
  • กลุ่มอาหารที่มีพิวรีนสูงมากกว่า 150 มิลลิกรัม ได้แก่ หัวใจไก่ ไข่ปลา ตับไก่ มันสมองวัว กึ๋นไก่ หอย เซ่งจี้หมู ห่าน ตับหมู น้ำซุปกระดูก ปลาดุก ยีสต์ เนื้อไก่ เป็ด ซุปก้อน กุ้งซีอิ้ว น้ำสกัดเนื้อ ปลาไส้ตัน ถั่วดำ ปลาตัวเล็ก ถั่วแดง เห็ด ถั่วเขียว กระถิน ถั่วเหลือง ตับอ่อน ชะอม ยอดฟักแม้ว ปลาอินทรีย์ กะปิ  อาหารสําหรับโรคเก๊าท์ ปลาซาดีนกระป๋อง

กลุ่มอาหารที่มีพิวรีนปานกลาง พิวรีนอยู่ 50-150 มก. เนื้อหมู เนื้อวัว ปลากะพง ปลาหมึก ปู ถั่วลิสง ขี้เหล็ก สะตอ ข้าวโอ๊ต ผักโขม ถั่วลันเตา หน่อไม้ ข้าวที่ไม่ขัดสีจนขาว

กลุ่มอาหารที่มีพิวรีนน้อย 0-50 มิลลิกรัม ได้แก่ นมและผลิตภัณฑ์จากนม ไข่ ผักต่างๆ ผลไม้ น้ำตาล ผลไม้เปลือกแข็ง ไขมัน ข้าวขาว ก๋วยเตี๋ยว มันเทศ

มีสาเหตุมาจากความผิดปกติของการสะสมกรดยูริค (Uric acid) ในร่างกาย

กรดยูริคได้จากการเผาผลาญสารพิวรีนซึ่ง เป็นธาตุอาหารที่ร่างกายสังเคราะห์เองได้และพบได้ทั่วไปในอาหารหลายชนิดโดยปกติเมื่อสารพิวรีนที่ร่างกายได้รับ จะถูกย่อยจนกลายเป็นกรดยูริค ในคนปกติกรดยูริคจะถูกสร้างขึ้นในอัตราช้าพอที่ไตจะขับออกได้หมดทันกับการสร้างขึ้นพอดี และจะขับออกมาพร้อมกับปัสสาวะ

สำหรับบางรายที่กรดยูริคถูกสร้างขึ้น อาหารสําหรับโรคเก๊าท์  แต่ไตทำหน้าที่ขับถ่ายออกมาได้ช้า หรือเร็วก็ตามจะทำให้เกิดการสะสมของกรดยูริคมากขึ้นในร่างกาย เป็นสาเหตุให้เกิดการเจ็บปวดอย่างรุนแรงในข้อกระดูกหรือรอบ ๆ ข้อกระดูกในเพศชายไม่ควรมีกรดยูริคในเลือดมากกว่า 8 มิลลิกรัมต่อเดซิลิตร สำหรับเพศหญิง ไม่ควรมีกรดยูริคในเลือดมากกว่า 6 มิลลิกรัมต่อเดซิลิตร

โรคนี้สามารถถ่ายทอดกันได้ทางกรรมพันธุ์

1. นมไขมันต่ำ มีงานวิจัยพบว่าการดื่มนมไขมันต่ำวันละ 1 แก้ว ช่วยลดการเกิดโรคเก๊าต์ได้มากถึง 40% เพราะนมมีโปรตีนที่ชื่อว่า “เคซีน” โปรตีนชนิดนี้เมื่อผ่านไปถึงลำไส้จะเปลี่ยนเป็นกรดอะมิโนที่ชื่อว่า “อลานีล” แล้วกลับเข้าสู่ร่างกาย ซึ่งกรดอะมิโนนี้เองที่จะช่วยให้ไตขับสารยูริคออกจากร่างกายได้อย่างมีประสิทธิภาพมากขึ้น

2. ผลไม้ที่มีวิตามินซีสูง เช่น ส้ม มะนาว มะขามป้อม ผลไม้ตระกูลเบอรี่ เพราะการทานวิตามินซีให้ได้อย่างน้อยวันละ 500 มิลลิกรัมอย่างต่อเนื่อง จะช่วยลดระดับกรดยูริคในร่างกายได้ หากใครไม่สามารถทานผลไม้ได้บ่อย ๆ  อาหารสําหรับโรคเก๊าท์ ก็สามารถทานวิตามินซีเสริมได้ แต่ทั้งนี้ควรปรึกษาแพทย์ก่อน เนื่องจากการทานอาหารเสริมควรมีการพักทานบ้างเพื่อให้ตับ ไตได้พักผ่อน อาหารสุขภาพ  หรือบางคนอาจจะมีปัญหาสุขภาพจนไม่สามารถทานได้

3. กล้วย หากอยากลดกรดยูริคในเลือด ให้ลองทานกล้วยวันละ 1-2 ผล ติดต่อกัน 1-2 อาทิตย์ จะช่วยลดกรดยูริคและบรรเทาอาการปวดข้อจากโรคเก๊าต์ลงได้

4. แอปเปิ้ล ในแอปเปิ้ลมีกรดมาลิคอยู่สูง จะช่วยรักษาสมดุลของกรดยูริค ทำให้กรดยูริคในเลือดต่ำลง แนะนำให้ทานแอปเปิ้ลสัปดาห์ละ 3-4 ผลโดยไม่ปลอกเปลือกจะช่วยบรรเทาโรคเก๊าต์ได้

5. เชอรี่ อุดมไปด้วยสารแอนโทไซยานิน ซึ่งนอกจากเป็นสารต่อต้านอนุมูลอิสระแล้ว ยังมีฤทธิ์ช่วยลดการอักเสบ ช่วยลดความเจ็บปวดตามข้อจากโรคเก๊าต์ ลดระดับกรดยูริคในเลือดและป้องกันการก่อตัวของผลึกยูริคตามข้อกระดูก

6. กาแฟ  อาหารสําหรับโรคเก๊าท์ มีงานวิจัยพบว่าการดื่มกาแฟก็สามารถช่วยลดกรดยูริคได้เหมือนกัน แต่แนะนำว่าควรทานในปริมาณที่พอเหมาะและเป็นกาแฟดำเท่านั้น ก่อนดื่มก็ควรปรึกษาแพทย์ก่อน เพราะบางคนอาจจะมีปัญหาเกี่ยวกับสุขภาพที่ไม่สามารถดื่มกาแฟได้

7. อาหารที่มีสารพิวรีนต่ำ มีหลายชนิด สามารถเลือกทานได้สลับกันไปเช่น ขนมปังโฮลวีต ข้าวขัดสี ธัญพืช ไข่ ผลิตภัณฑ์จากนมทุกชนิด ถั่วเปลือกแข็ง เต้าหู้ ไขมันทุกประเภท (ควรทานแต่น้อย)

Leave a Reply

Your email address will not be published. Required fields are marked *